แนะนำการใช้งาน | ปิดหน้าต่างนี้ |
![]() |
![]() |
|||||
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
เนื้อหา
พิมพ์ |
![]() |
![]() |
เกี่ยวกับบาร์โค้ด:คำแนะนำการใช้งาน:
ข้อจำกัดของโปรแกรม OpenBiblio ในของบาร์โค้ด:
รหัสบาร์โค้ดสมาชิก: เพื่อให้การทำงานยืม-คืน มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด ควรใช้รหัสบาร์โค้ดที่เป็นตัวเลขสำหรับรหัสสมาชิก ถ้าเครื่องอ่านบาร์โค้ดไม่ทำงานหรือไม่ใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถพิมพ์รหัสบาร์โค้ดหรือชื่อสมาชิกแทนได้ รหัสบาร์โค้ดรายการตัวเล่ม: การพิมพ์รหัสบาร์โค้ด และรายการบรรณานุกรมรวมทั้งการพิมพ์เลขเรียกหนังสือ (พิมพ์สัน) ตองแน่ใจว่ารายการตรงกัน ข้อจำกัดการใช้บาร์โค้ดโปรแกรม Openbiblio. ถ้าห้องสมุดไม่เคยกำหนดรหัสบาร์โค้ดตัวเล่ม คุณจะต้องตัดสินใจสำหรับการกำหนดรหัสบาร์โค้ดให้เหมาะสมกับห้องสมุดของคุณ การสร้างรหัสบาร์โค้ดโดยอัตโนมัติ. มีความรวดเร็วในการสร้างรหัสบาร์โค้ดเพิ่มขึ้นและง่ายสำหรับการสร้าง การใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด : โปรแกรม OpenBiblio สามารถรองรับเครื่องอ่านบาร์โค้ดที่ทำหน้าที่คล้ายคีย์บอร์ด รวมถึงเครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบ USB รวมทั้งเครื่องอ่านบาร์โค้ดที่ต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และคีย์บอร์ด เครื่องอ่านบาร์โค้ดส่วนใหญ่ในปัจจุบันสามารถตั้งโปรแกรมเพื่อให้อ่านรหัสบาร์โค้ดและต่อด้วยการชี้ตำแหน่ง (cursor) ลงในตำแหน่งแรกของบรรทัดถัดลงมา (ซึ่งเหมือนกับการกดปุ่ม ENTER บนคีย์บอร์ด) ทุกครั้งที่อ่านรหัสบาร์โค้ด โปรแกรม OpenBiblio จะสามารถประมวลผลคำสั่งทันทีที่เครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด การพิมพ์บาร์โค้ดและพิมพ์เลขเรียกหนังสือ การพิมพ์บาร์โค้ดและพิมพ์เลขเรียกหนังสือ การยืม-คืนด้วยบาร์โค้ดที่มีประสิทธิภาพ, จำเป็นต้องใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ดที่มีประสิทธิภาพด้วย. ลิงค์เว็บไซต์เกี่ยวกับบาร์โค้ด Wikipedia: barcode http://www.barcodesymbols.com/ http://www.barcodefaq.com/ Powered by OpenBiblio Copyright © 2002 Dave Stevens under the GNU General Public License |